• ข้อมูลโครงการ
  • มาตรฐานและตัวชี้วัด
  • ยินดีต้อนรับสู่แหล่งเรียนรู้ธรณีวิทยาเสมือนจริง
  • วิธีการใช้งาน
  • เครือข่ายครูผู้สอนวิชาธรณีวิทยา โลกศาสตร์
  • เทคโนโลยีเสมือนจริง
แหล่งเรียนรู้ธรณีวิทยาเสมือนจริง            
  • หน้าหลัก
  • วิธีการใช้งาน
  • มาตรฐานและตัวชี้วัด
  • เทคโนโลยีเสมือนจริง
  • ข้อมูลโครงการ
  • เครือข่ายครูธรณี
แหล่งเรียนรู้ธรณีวิทยาเสมือนจริง
  • หน้าหลัก
  • วิธีการใช้งาน
  • มาตรฐานและตัวชี้วัด
  • เทคโนโลยีเสมือนจริง
  • ข้อมูลโครงการ
  • เครือข่ายครูธรณี

หมวดหมู่: อินโฟกราฟิก 360 องศา

ภาพ 360 องศาที่เป็นกราฟิกนำเสนอข้อมูลหรืออินโฟกราฟิก (infographic) ซึ่งสร้างจากโปรแกรมกราฟิกบนคอมพิวเตอร์

เรื่อง การแปลความหมายทางธรณีวิทยาในภาคสนาม

หมวดหมู่ : ตัวชี้วัดที่ 4, อินโฟกราฟิก 360 องศา
หัวข้อ : การลำดับชั้นหิน, การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา, ธรณีประวัติ, ธรณีวิทยาโครงสร้าง, รอยเลื่อน, หินตะกอน

ความรู้เกี่ยวกับการแปลความหมายทางธรณีวิทยาในภาคสนาม เพื่อการศึกษาการลำดับชั้นหิน ธรณีวิทยาโครงสร้าง และธรณีประวัติ (จำนวน 1 ซีน)

เข้าชมทัวร์นี้

เรื่อง แผนที่ภูมิประเทศ

หมวดหมู่ : ตัวชี้วัดที่ 12, อินโฟกราฟิก 360 องศา
หัวข้อ : topographic map, กาญจนบุรี, แผนที่ภูมิประเทศ

ความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของแผนที่ภูมิประเทศ และการอ่านค่าตำแหน่งพิกัด (จำนวน 1 ซีน)

เข้าชมทัวร์นี้

เรื่อง การกลั่นลำดับส่วนและผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม

หมวดหมู่ : ตัวชี้วัดที่ 11, อินโฟกราฟิก 360 องศา
หัวข้อ : ก๊าซธรรมชาติ, การกลั่นลำดับส่วน, น้ำมัน, ปิโตรเลียม

ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการกลั่นลำดับส่วนและผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม (จำนวน 1 ซีน)

เข้าชมทัวร์นี้

เรื่อง การแปลความหมายข้อมูลคลื่นไหวสะเทือน

หมวดหมู่ : ตัวชี้วัดที่ 10, อินโฟกราฟิก 360 องศา
หัวข้อ : seismic data, คลื่นไหวสะเทือน

ความรู้เกี่ยวกับการสำรวจคลื่นไหวสะเทือนและการแปลความหมายโครงสร้างใต้ผิวดินจากข้อมูลคลื่นไหวสะเทือน (จำนวน 1 ซีน)

เข้าชมทัวร์นี้

เรื่อง ระบบปิโตรเลียม (Petroleum system)

หมวดหมู่ : ตัวชี้วัดที่ 10, อินโฟกราฟิก 360 องศา
หัวข้อ : ก๊าซธรรมชาติ, น้ำมัน, ปิโตรเลียม

ความรู้เกี่ยวกับระบบการเกิดและกักเก็บปิโตรเลียมในชั้นหินใต้ผิวดิน (จำนวน 1 ซีน)

เข้าชมทัวร์นี้

เรื่อง หินอัคนีและการจำแนก

หมวดหมู่ : ตัวชี้วัดที่ 9, อินโฟกราฟิก 360 องศา
หัวข้อ : igneous rock, ภูเขาไฟ, ลาวา, หินอัคนี, แมกมา

อินโฟกราฟิกอธิบายการเกิดหินอัคนี การจำแนกชนิดและการเรียกชื่อหินอัคนี (จำนวน 1 ซีน)

เข้าชมทัวร์นี้

เรื่อง จุลชีวินดึกดำบรรพ์ (Microfossil)

หมวดหมู่ : ตัวชี้วัดที่ 9, อินโฟกราฟิก 360 องศา
หัวข้อ : fossil, microfossil, จุลชีวินดึกดำบรรพ์, ซากดึกดำบรรพ์, บรรพชีวินวิทยา, หินตะกอน

ความรู้เกี่ยวกับจุลชีวินดึกดำบรรพ์และการศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ (จำนวน 1 ซีน)

เข้าชมทัวร์นี้

เรื่อง การศึกษาแร่ภายใต้กล้องจุลทรรศน์

หมวดหมู่ : ตัวชี้วัดที่ 9, อินโฟกราฟิก 360 องศา
หัวข้อ : mineral, thin section, กล้องจุลทรรศน์, แผ่นหินบาง, แร่

ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาแร่ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ (จำนวน 1 ซีน)

เข้าชมทัวร์นี้

เรื่อง วัฏจักรของหิน (Rock cycle)

หมวดหมู่ : ตัวชี้วัดที่ 9, อินโฟกราฟิก 360 องศา
หัวข้อ : วัฏจักรของหิน, หินตะกอน, หินอัคนี, หินแปร

อินโฟกราฟิกอธิบายวัฏจักรของหิน (จำนวน 1 ซีน)

เข้าชมทัวร์นี้

เรื่อง นพรัตน์ (นพเก้า)

หมวดหมู่ : ตัวชี้วัดที่ 8, อินโฟกราฟิก 360 องศา
หัวข้อ : gemstone, นพรัตน์, นพเก้า, นิล, อัญมณี, เพชร, แร่, โกเมน

อัญมณีที่อินโฟกราฟิกอัญมณีที่เป็นมงคล 9 ชนิดตามความเชื่อของไทย (จำนวน 1 ซีน)

เข้าชมทัวร์นี้

แนะแนวเรื่อง

เรื่องที่เก่ากว่า

ค้นหาบทเรียน

ทัวร์ที่ได้รับความนิยม

เรื่อง รอยเลื่อนมีพลัง (Active faults)

เรื่อง การกลั่นลำดับส่วนและผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม

เสาหินบะซอลต์ (Columnar basalt) จ.เพชรบูรณ์

เสาเฉลียงยักษ์ อุทยานแห่งชาติผาแต้ม จ.อุบลราชธานี

รอยเลื่อน อ.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์

หัวข้อ

erosion weathering กาญจนบุรี การกร่อน การผุพัง การลำดับชั้นหิน ซากดึกดำบรรพ์ ตาก ภูเขาไฟ หินตะกอน หินทราย หินปูน หินอัคนี หินแปร

หมวดหมู่

  • ตัวชี้วัดที่ 1 (2)
  • ตัวชี้วัดที่ 10 (3)
  • ตัวชี้วัดที่ 11 (1)
  • ตัวชี้วัดที่ 12 (3)
  • ตัวชี้วัดที่ 2 (3)
  • ตัวชี้วัดที่ 3 (4)
  • ตัวชี้วัดที่ 4 (15)
  • ตัวชี้วัดที่ 5 (3)
  • ตัวชี้วัดที่ 6 (3)
  • ตัวชี้วัดที่ 7 (1)
  • ตัวชี้วัดที่ 8 (3)
  • ตัวชี้วัดที่ 9 (13)
  • รูปถ่าย 360 องศา (31)
  • อินโฟกราฟิก 360 องศา (21)

VR GEOLOGY
VR GEOLOGY ห้องเรียนธรณีวิทยาเสมือนจริง
50+ TOURS
50+ TOURS จุดศึกษาธรณีวิทยา
60+ 360° IMAGES
60+ 360° IMAGES สถานที่สำคัญทางธรณีวิทยา
20+ INFOGRAPHICS
20+ INFOGRAPHICS ข้อมูลเพิ่มเติมทางด้านธรณีวิทยา

ติดต่อสอบถาม

อีเมล: Geology.VR@gmail.com
ที่อยู่: ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

Creative Commons License
ผลงานนี้ใช้ Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.